1.หลักการทั่วไปของ Senkou Span ใน Ichimoku
หลักการทั่วไปของ Senkou Span ใน Ichimoku
Senkou Span เป็นส่วนประกอบของ Ichimoku ซึ่ง Senkou Span จะแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ Senkou Span A และ Senkou Span B Senkou Span ไม่ได้บอกแนวโน้มในอนาคต แต่ Senkou Span จะถูก Shift ไปด้านหน้าของราคา ดังรูป
เราจะเห็นว่า Senkou Span ถูก Shift ไปด้านหน้าของราคา เส้นสีเหลืองคือ Senkou Span A และเส้นสีขาวคือ Senkou Span B
เส้นประที่อยู่ระหว่าง Senkou Span ทั้งสองเส้น เราจะเรียกกว่า ก้อนเมฆ (Cloud ) หรือเรียกว่า Kumo
Kumo เปรียบเสมือนจุดสมดุลของกราฟ เมื่อราคาอยู่ภายใน Kumo มันจะสะสมพลังเพื่อไปในทิศทางใด ทิศทางหนึ่ง ดังรูปด้านล่าง
เมื่อราคาอยู่ภายใน Kumo เราต้องรอจนกว่าราคาจะทะลุทางใดทางหนึ่ง ถ้าราคาทะลุ Kumo ขึ้นไปด้านบน ให้ Long (Buy )
และถ้าราคาทะลุ Kumo ลงไปด้านล่าง ให้ Short (sell)
เมื่อ Senkou Span เป็น Flat ราบเรียบขนานไปกับพื้นเป็นเส้นตรงยาวๆ หมายความว่า เส้น Senkou Span จะกลายเป็น แนวรับ/แนวต้านในทันที
Ex.1
Ex.2
กฎทั่วไปของ Kumo (Senkou Span)
ถ้า Senkou Span A อยู่สูงกว่า Senkou Span B ,ให้ Long (buy )
ถ้า Senkou Span A อยู่ต่ำกว่า Senkou Span B , ให้ Short(Sell)
ถ้า Kumo กลายเป็น Flat มันจะกลายเป็นแนวรับแนวต้านที่ดี
ถ้า ราคาอยู่เหนือ Kumo ให้ Long (Buy)
ถ้าราคาอยู่ต่ำกว่า Kumo ให้ Short (Sell)
คำแนะนำนะครับ การดูแนวรับแนวต้านจาก Senkou Span (Kumo) เราต้องเปลี่ยนช่วงเวลาเพื่อหา แนวรับแนวต้านจาก Senkou Span เราสามารถดูแนวรับแนวต้านจากกราฟ 5 m , 15 m , 30 m , 1H , 4H ,Daily
ตัวอย่างเช่น เมื่อเราดูกราฟ 5 นาทีของ GBP/USD เราจะพบว่าราคามันได้ทะลุ Kumo ขึ้นมา แต่เราไม่สามารถรู้ได้ว่า ราคาจะหยุดตรงไหน ดังรูป
ดังนั้นเราควรจะเปลี่ยนช่วงเวลา Time Frame ที่สูงกว่า TimeFrame เดิม จากตัวอย่างผมเปิดกราฟ 30 นาที เพื่อหาแนวต้านและคาดการณ์ว่าราคาจะหยุดตรงนี้ดังรูป กราฟ GBP/USD 30 นาที
-ดูจุดกลับตัวจากจุดตัดของ Senkou Span เมื่อราคาได้ทะลุ Kumo(จุดที่ 1) ขึ้นไปแล้ว Senkou Span ทั้งสองเส้นตัดกันขึ้นไป ราคาขึ้นไปทำยอด แล้วราคามีการดีดตัวลงมา ถ้าราคาดีดตัวลงมาบริเวณจุดตัดของ Senkou Span (จุดที่ 2 ) ดังรูปด้านล่าง
เมื่อมีแท่งเทียนกลับตัวตรงจุดตัดของ Senkou Span(จุดที่ 2) ให้หาจังหวะ Buy ทันที
Senkou Span เป็นส่วนประกอบของ Ichimoku ซึ่ง Senkou Span จะแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ Senkou Span A และ Senkou Span B Senkou Span ไม่ได้บอกแนวโน้มในอนาคต แต่ Senkou Span จะถูก Shift ไปด้านหน้าของราคา ดังรูป
เราจะเห็นว่า Senkou Span ถูก Shift ไปด้านหน้าของราคา เส้นสีเหลืองคือ Senkou Span A และเส้นสีขาวคือ Senkou Span B
เส้นประที่อยู่ระหว่าง Senkou Span ทั้งสองเส้น เราจะเรียกกว่า ก้อนเมฆ (Cloud ) หรือเรียกว่า Kumo
Kumo เปรียบเสมือนจุดสมดุลของกราฟ เมื่อราคาอยู่ภายใน Kumo มันจะสะสมพลังเพื่อไปในทิศทางใด ทิศทางหนึ่ง ดังรูปด้านล่าง
เมื่อราคาอยู่ภายใน Kumo เราต้องรอจนกว่าราคาจะทะลุทางใดทางหนึ่ง ถ้าราคาทะลุ Kumo ขึ้นไปด้านบน ให้ Long (Buy )
และถ้าราคาทะลุ Kumo ลงไปด้านล่าง ให้ Short (sell)
เมื่อ Senkou Span เป็น Flat ราบเรียบขนานไปกับพื้นเป็นเส้นตรงยาวๆ หมายความว่า เส้น Senkou Span จะกลายเป็น แนวรับ/แนวต้านในทันที
Ex.1
Ex.2
กฎทั่วไปของ Kumo (Senkou Span)
ถ้า Senkou Span A อยู่สูงกว่า Senkou Span B ,ให้ Long (buy )
ถ้า Senkou Span A อยู่ต่ำกว่า Senkou Span B , ให้ Short(Sell)
ถ้า Kumo กลายเป็น Flat มันจะกลายเป็นแนวรับแนวต้านที่ดี
ถ้า ราคาอยู่เหนือ Kumo ให้ Long (Buy)
ถ้าราคาอยู่ต่ำกว่า Kumo ให้ Short (Sell)
คำแนะนำนะครับ การดูแนวรับแนวต้านจาก Senkou Span (Kumo) เราต้องเปลี่ยนช่วงเวลาเพื่อหา แนวรับแนวต้านจาก Senkou Span เราสามารถดูแนวรับแนวต้านจากกราฟ 5 m , 15 m , 30 m , 1H , 4H ,Daily
ตัวอย่างเช่น เมื่อเราดูกราฟ 5 นาทีของ GBP/USD เราจะพบว่าราคามันได้ทะลุ Kumo ขึ้นมา แต่เราไม่สามารถรู้ได้ว่า ราคาจะหยุดตรงไหน ดังรูป
ดังนั้นเราควรจะเปลี่ยนช่วงเวลา Time Frame ที่สูงกว่า TimeFrame เดิม จากตัวอย่างผมเปิดกราฟ 30 นาที เพื่อหาแนวต้านและคาดการณ์ว่าราคาจะหยุดตรงนี้ดังรูป กราฟ GBP/USD 30 นาที
-ดูจุดกลับตัวจากจุดตัดของ Senkou Span เมื่อราคาได้ทะลุ Kumo(จุดที่ 1) ขึ้นไปแล้ว Senkou Span ทั้งสองเส้นตัดกันขึ้นไป ราคาขึ้นไปทำยอด แล้วราคามีการดีดตัวลงมา ถ้าราคาดีดตัวลงมาบริเวณจุดตัดของ Senkou Span (จุดที่ 2 ) ดังรูปด้านล่าง
เมื่อมีแท่งเทียนกลับตัวตรงจุดตัดของ Senkou Span(จุดที่ 2) ให้หาจังหวะ Buy ทันที
Credit:www.9professionaltrader.blogspot.com 1.หลักการทั่วไปของ Senkou Span ใน Ichimoku | Forex Trading Blog สอนเทรด Forex - แหล่งศึกษาข้อมูล Forex และสอน Trade Forex แบบมืออาชีพ
Under Creative Commons License: Attribution