ขั้นตอนและวิธีการเทรดในตลาด Forex
ในตลาด Forex จะต่างจากหุ้น ตรงที่ เราจะดูกันเป็น “คู่” ครับ ยกตัวอย่างเช่น EUR/USD คือการเปรียบเทียบระหว่างเงินยูโร กับเงินดอลล่าห์ ค่าเงินด้านซ้ายเราเรียกว่า base currency โดยเรามักจะเห็นราคา ซื้อ-ขาย อย่างนี้ครับ
EUR/USD bid= 1.3500 offer= 1.3502
โบรกเกอร์จะทำเงินจากเราจากส่วนต่างของ bid-offer ดังนั้น ทุกครั้งที่เราเปิดการเทรด เราจะติดลบก่อนเสมอ ซึ่งจะมากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับส่วนต่าง bid-offer นี้ (แต่ละคู่ของค่าเงินจะไม่เท่ากัน เช่นที่ Maketiva คู่ EUR/USD จะต่างกัน 2 หรืออย่าง GBP/JPY ต่างกัน 7 (ที่ FxOpen แบบ micro จะมากกว่า Marketiva อยู่ +1 แต่ standard จะเท่ากัน))
เช่น ณ เวลาที่เราเข้า Buy คู่ EUR/USD อยู่ที่ 1.3502 (ที่ราคา offer) ถ้าเราปิด (close) ทันที เราจะ sell คืนไปที่ 1.3500 (ที่ราคา bid) เท่ากับเราขาดทุน 0.0002 หรือ 2 จุด (หรือ pip)
ถ้าเราสั่ง ซื้อ (เรียกว่า Buy หรือ Long) ในตอนที่เราเปิด order (เปิด order BUY) เราจะได้ราคาที่ offer และเมื่อเราสั่งปิด order นี้ เราจะได้ราคาที่ bid – การ buy คือการที่เราซื้อมาถือไว้ เพื่อรออัตราแลกเปลี่ยนที่สูงขึ้น และเราจะปิด order นี้ โดยการ sell คืน (การสั่ง close order จะเป็นการ sell อัตโนมัติครับ – ไม่ใช่ให้เราเปิด order sell อีกอัน) ไปในราคาที่สูงกว่า (ถ้า sell คืนในราคาต่ำกว่า เราก็ขาดทุน) เรียกว่า ซื้อถูก ขายแพง
ข้อดีอีกข้อของตลาด Forex คือ เราสามารถเทรดขาลงได้ด้วย
เมื่อเราสั่ง ขาย (เรียกว่า Sell หรือ Short) ในตอนที่เราเปิด order (เปิด order SELL) เราจะได้ราคาที่ bid และเมื่อเราสั่งปิด order นี้ เราจะได้ราคาที่ offer – การ Sell คือการที่เราสั่งโบรกให้ขายออกไปก่อน เพื่อรออัตราแลกเปลี่ยนตกลงมา และเราจะปิด order นี้ โดยการ Buy คืน (การสั่ง close order จะเป็นการ buy อัตโนมัติครับ – ไม่ใช่ให้เราเปิด order buy อีกอัน) ไปในราคาที่ต่ำกว่า (ถ้า Buy คืนในราคาสูงกว่า เราก็ขาดทุน) เรียกว่า ขายแพง แล้วซื้อถูก
แต่จะเห็นว่า เราดู จุด หรือ pip กันที่ ทศนิยมตำแหน่งที่ 4 (หรือตำแหน่งที่ 2 ในบางคู่) เราลองมาดู EUR/USD กัน
สมมุติว่า เราพิจารณาแล้ว เราเห็นว่า EUR น่าจะแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับ USD (คือ EUR จะแลก USD ได้มากขึ้น เมื่อเวลาผ่านไป) เราจึงทำการเข้า buy โดยที่เราได้ราคา ที่ 1.3502 (จำได้มั๊ยครับว่าเราจะได้ราคา offer นั่นแปลว่าเมื่อเทียบกับ bid เราจะ -2 นี่คืนส่วนของค่าคอมมิทชั่นของโบรกเกอร์ครับ)
เมื่อเวลาผ่านไป ราคาวิ่งขึ้นไป ที่ 1.3552 หรือขึ้นมา 50 จุด แล้วเราเห็นว่าอาจจะไปต่อไม่ไหว จึงปิดทำกำไรที่ จุดนี้ เราจะได้กำไรมา 50 จุด หรือ 50 pips หรือ 0.0050 หน่วยใน base currency ซึ่งในที่นี้คือ 0.0050 usd
น้อยมากใช่ไหมครับ 0.0050 USD = ครึ่งเซ็นต์ หรือประมาณ 17 สตางค์ เท่านั้น นั่นแปลว่าหากเราอยากทำกำไรเยอะๆ เช่น pip ละ $1 (50 pip ก็คือ $50) เราต้องสั่งเทรดถึง $10,000 โอ้ว… ผมเองก็ไม่มีหรอกครับ $10,000
แล้วเราจะทำอย่างไรล่ะ?
จากที่เราสั่งซื้อด้วยเงินเพียง $1 ของเราเอง กำไรมันน้อยนิดมาก ขนาด +50 จุดยังทำเงินได้ 17 สตางค์เอง ตรงนี้แหล่ะครับที่ Leverage เข้ามามีผล
Leverage 1:100 แปลว่า เราใช้ทุนของเราเองเพียง 1 เพื่อสั่งซื้อ-ขาย 100 เช่น เราจะสั่งซื้อ EUR มาถือไว้ โดยจะซื้อที่ราคา 1.3502 จำนวน 100 USD (คือได้มา 74.0631 EUR) เราไม่ต้องใช้ 100 USD ครับ เราจะใช้เพียง 1 USD เพื่อแลก 74.0631 EUR มาถือไว้ ซึ่งเมื่อเราขายคืนไปที่ 1.3552 หรือกำไรมา 0.0050 แทนที่เราจะกำไรแค่ นั้น จะกลายเป็นว่าเราจะทำกำไรได้ 0.50 usd แปลว่าเราสามารถทำกำไรได้ 50% จากเงินที่เราลง (เราลงเพียง $1 เพื่อทำกำไร $0.50)
แต่ไม่ต้องห่วงนะครับ ว่าเราจะมีเงินพอรึเปล่า เวลามี Leverage แบบนี้ เพราะเวลาเทรดเราจะสั่งเทรดอย่างมาก ไม่เกิน 40% ของทุน (แต่แนะนำที่ 10% ครับ จะได้มีเหลือไว้แก้ตัว) เช่นถ้าเรามีทุน $100 เราก็สั่งเทรดเพียง $10 หรือ 10% (แต่เวลาสั่ง $10 คือ 1,000 unit นะครับ ที่ Leverage 1:100) 10% ที่ใช้ เราจะเรียกว่า used margin เวลาราคาวิ่งขึ้นหรือลง มันจะมาบวก หรือ ลบ ที่ 90% ที่เหลือ หรือที่เรียกว่า available margin หากเราติดลบไปเรื่อยๆ จน available หมด ระบบจะทำการตัดขาดทุน โดยการปิด order นี้ โดยอัตโนมัติ นั่นคือ โบรกเกอร์จะไม่ยอมขาดทุนแทนเราหรอกครับ
คิดคร่าวๆ คือ เราจะทำกำไร (ขาดทุน) ได้ ประมาณ 1% ต่อ pip จากเงินทุนของเรา (คู่อื่นอาจจะไม่ถึง 1% บางคู่ก็มากกว่า เช่น EUR/GBP ตกประมาณ 2% ครับ)
นั่นหมายความว่า ด้วยทุนเพียง $100 (3,400 บาท) คุณจะสามารถทำกำไรได้ถึงจุดละ $1 (สั่งเทรด 10,000 unit) หากทำได้ 10 จุดต่อวัน ก็วันละ $10 หรือ 340 บาท (โดยประมาณ) หรือวันละ 10%
และด้วยทุนเพียง $1,000 (34,000 บาท) เราจะสามารถทำกำไรได้ถึงจุดละ $10 (สั่งเทรด 100,000 unit) หากทำได้ 10 จุดต่อวัน ก็วันละ $100 หรือ 3,400 บาท
หรืออาจจะเริ่มเพียง $1 (34 บาท) โดยจะได้จุดละประมาณ 1 เซ็นต์
ค่อยๆ สะสมไปก็ได้ครับ เพราะมีแล้วคนที่ปั้น $5 จากทุนฟรีที่ Marketiva มีให้ ไปเป็น $1,000 ใน 3 เดือน
ลองคิดดูเล่นๆู ล่ะกันครับ ถ้าเพียงคุณสามารถทำกำไรได้ 10% ของทุนต่อวัน เพิ่มไปเรื่อยๆ 6 เดือน (120 วันเทรด) จะเป็นเงินเท่าไหร่ จากทุนเพียง $5
เป็น $463,545.34 หรือ 15,765,541.60 บาท ครับ โอ้ววววว พระเจ้าช่วย (ทำได้แค่ 5% ของไอเดียนี้ก็หรูแล้วครับ)
ปกติ EUR/USD จะไม่แรงมาก ทำวันละ 20-30 จุดได้ หากเป็นบางคู่ เช่น GBP/JYP (ทุกวันนี้ผมเล่น GBP/JYP เป็นหลัก เพราะแรง เร้าใจ) ผมเคยทำได้มากสุด +250 จุด เพียงช่วงเวลาที่ผมหลับ (เที่ยงคืน) จนมาถึงเวลาที่ผมตื่น (7 โมงครึ่ง) หรือ 250% ของเงินทุนที่ผมเทรด
ที่ FxOpen ให้เราสามารถ up Leverage ได้สูงสุดถึง 1:500 นั่นแปลว่า เราใช้ทุนตัวเองเพียง $200 ในการเทรด 100,000 unit (หรือ 1 lot จะได้จุดละ $10) เองครับ
แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น Leverage ก็เป็นดาบ 2 คม ที่ทั้งทำให้ รวย-จน ได้ในพริบตา
Leverage และการที่มันวิ่งขึ้นลงทั้งวัน นี่แหล่ะครับ ที่ทำให้ Forex สนุก และเร้าใจ
อธิบายเพิ่มเติม เพื่อให้เห็นภาพมากขึ้นครับ…
Leverage ที่มากขึ้น ทำให้ใช้ margin น้อยลงครับ เช่น
หากเราสั่งเทรด 1 Lot (บน mt4 จะมีค่าเท่ากับการเทรด Quantity = 100,000 unit ที่ marketiva)
หากใช้ Leverage 1:100 จะใช้ margin = $1,000 โดย 1 pip จะมีค่า = $10
หากใช Leverage 1:200 จะใช้ margin = $500 โดย 1 pip จะมีค่า = $10
หากใช Leverage 1:500 จะใช้ margin = $200 โดย 1 pip จะมีค่า = $10
สังเกตนะครับ ผมสั่งเทรดจำนวนเท่ากัน คือ 1 Lot (หรือ Quantity = 100,000 unit ที่ marketiva ซึ่ง) และ 1 pip นั้น ไม่ว่าจะใช้ Leverage เท่าไหร่ จะมีค่าเท่ากัน แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ margin ที่ใช้ลดลง
ข้อดีของ Leverage ที่มากขึ้น คือการได้ใช้ margin ลดลง อาจะทำให้ถือลบ ได้นานอีกหน่อย (ถ้าจะถือจนลบหมดตัว)
แต่ข้อเสียคือ ถ้ามองถึงการใช้ margin และยังคงดูเรื่อง fund management ที่เราพยายามเทรดไม่เกิน 10% ของทุน การที่ Leverage มากขึ้น เช่น เพิ่มจาก 1:100 ไปเป็น 1:200 แล้วเรายังคงเทรดโดยใช้ margin 10% สิ่งที่จะแตกต่างกันคือ (ถ้าทุน $10,000 เทรด โดยใช้ margin $1,000)
1:100 ต้องสั่งเทรด 1 Lot (หรือ 100,000 Quantity) เพื่อใช้ margin $1,000 จะได้ 1 pip = $10 ซึ่งถ้า -900 จุด จะโดน cut loss
แต่
1:200 ต้องสั่งเทรด 2 Lot (หรือ 200,000 Quantity) เพื่อใช้ margin $1,000 จะได้ 1 pip = $20 ซึ่งถ้า -450 จุด จะโดน cut loss
(จริงๆ marketiva สั่งได้มากสุดแค่ 100,000 แต่ e-mail ขอ support เพิ่มเป็น 200,000 ได้)
ซึ่ง ถ้าจะใช้ให้ถูก ถึงเราจะเลือก 1:200 เราก็ควรจะเทรดที่ 1 Lot (หรือ 100,000 Quantity) เหมือนเดิม เพื่อที่จะใช้ margin ลดลงเหลือ $500 ซึ่ง 1 pip จะยังคง = $10 และจะโดน cut loss เมื่อ -950 จุด (ยืดมาได้ 50 จุด จากที่ใช้ 1:100 ที่ลบได้แค่ 900 จุด)
EUR/USD bid= 1.3500 offer= 1.3502
โบรกเกอร์จะทำเงินจากเราจากส่วนต่างของ bid-offer ดังนั้น ทุกครั้งที่เราเปิดการเทรด เราจะติดลบก่อนเสมอ ซึ่งจะมากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับส่วนต่าง bid-offer นี้ (แต่ละคู่ของค่าเงินจะไม่เท่ากัน เช่นที่ Maketiva คู่ EUR/USD จะต่างกัน 2 หรืออย่าง GBP/JPY ต่างกัน 7 (ที่ FxOpen แบบ micro จะมากกว่า Marketiva อยู่ +1 แต่ standard จะเท่ากัน))
เช่น ณ เวลาที่เราเข้า Buy คู่ EUR/USD อยู่ที่ 1.3502 (ที่ราคา offer) ถ้าเราปิด (close) ทันที เราจะ sell คืนไปที่ 1.3500 (ที่ราคา bid) เท่ากับเราขาดทุน 0.0002 หรือ 2 จุด (หรือ pip)
ถ้าเราสั่ง ซื้อ (เรียกว่า Buy หรือ Long) ในตอนที่เราเปิด order (เปิด order BUY) เราจะได้ราคาที่ offer และเมื่อเราสั่งปิด order นี้ เราจะได้ราคาที่ bid – การ buy คือการที่เราซื้อมาถือไว้ เพื่อรออัตราแลกเปลี่ยนที่สูงขึ้น และเราจะปิด order นี้ โดยการ sell คืน (การสั่ง close order จะเป็นการ sell อัตโนมัติครับ – ไม่ใช่ให้เราเปิด order sell อีกอัน) ไปในราคาที่สูงกว่า (ถ้า sell คืนในราคาต่ำกว่า เราก็ขาดทุน) เรียกว่า ซื้อถูก ขายแพง
ข้อดีอีกข้อของตลาด Forex คือ เราสามารถเทรดขาลงได้ด้วย
เมื่อเราสั่ง ขาย (เรียกว่า Sell หรือ Short) ในตอนที่เราเปิด order (เปิด order SELL) เราจะได้ราคาที่ bid และเมื่อเราสั่งปิด order นี้ เราจะได้ราคาที่ offer – การ Sell คือการที่เราสั่งโบรกให้ขายออกไปก่อน เพื่อรออัตราแลกเปลี่ยนตกลงมา และเราจะปิด order นี้ โดยการ Buy คืน (การสั่ง close order จะเป็นการ buy อัตโนมัติครับ – ไม่ใช่ให้เราเปิด order buy อีกอัน) ไปในราคาที่ต่ำกว่า (ถ้า Buy คืนในราคาสูงกว่า เราก็ขาดทุน) เรียกว่า ขายแพง แล้วซื้อถูก
แต่จะเห็นว่า เราดู จุด หรือ pip กันที่ ทศนิยมตำแหน่งที่ 4 (หรือตำแหน่งที่ 2 ในบางคู่) เราลองมาดู EUR/USD กัน
สมมุติว่า เราพิจารณาแล้ว เราเห็นว่า EUR น่าจะแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับ USD (คือ EUR จะแลก USD ได้มากขึ้น เมื่อเวลาผ่านไป) เราจึงทำการเข้า buy โดยที่เราได้ราคา ที่ 1.3502 (จำได้มั๊ยครับว่าเราจะได้ราคา offer นั่นแปลว่าเมื่อเทียบกับ bid เราจะ -2 นี่คืนส่วนของค่าคอมมิทชั่นของโบรกเกอร์ครับ)
เมื่อเวลาผ่านไป ราคาวิ่งขึ้นไป ที่ 1.3552 หรือขึ้นมา 50 จุด แล้วเราเห็นว่าอาจจะไปต่อไม่ไหว จึงปิดทำกำไรที่ จุดนี้ เราจะได้กำไรมา 50 จุด หรือ 50 pips หรือ 0.0050 หน่วยใน base currency ซึ่งในที่นี้คือ 0.0050 usd
น้อยมากใช่ไหมครับ 0.0050 USD = ครึ่งเซ็นต์ หรือประมาณ 17 สตางค์ เท่านั้น นั่นแปลว่าหากเราอยากทำกำไรเยอะๆ เช่น pip ละ $1 (50 pip ก็คือ $50) เราต้องสั่งเทรดถึง $10,000 โอ้ว… ผมเองก็ไม่มีหรอกครับ $10,000
แล้วเราจะทำอย่างไรล่ะ?
จากที่เราสั่งซื้อด้วยเงินเพียง $1 ของเราเอง กำไรมันน้อยนิดมาก ขนาด +50 จุดยังทำเงินได้ 17 สตางค์เอง ตรงนี้แหล่ะครับที่ Leverage เข้ามามีผล
Leverage 1:100 แปลว่า เราใช้ทุนของเราเองเพียง 1 เพื่อสั่งซื้อ-ขาย 100 เช่น เราจะสั่งซื้อ EUR มาถือไว้ โดยจะซื้อที่ราคา 1.3502 จำนวน 100 USD (คือได้มา 74.0631 EUR) เราไม่ต้องใช้ 100 USD ครับ เราจะใช้เพียง 1 USD เพื่อแลก 74.0631 EUR มาถือไว้ ซึ่งเมื่อเราขายคืนไปที่ 1.3552 หรือกำไรมา 0.0050 แทนที่เราจะกำไรแค่ นั้น จะกลายเป็นว่าเราจะทำกำไรได้ 0.50 usd แปลว่าเราสามารถทำกำไรได้ 50% จากเงินที่เราลง (เราลงเพียง $1 เพื่อทำกำไร $0.50)
แต่ไม่ต้องห่วงนะครับ ว่าเราจะมีเงินพอรึเปล่า เวลามี Leverage แบบนี้ เพราะเวลาเทรดเราจะสั่งเทรดอย่างมาก ไม่เกิน 40% ของทุน (แต่แนะนำที่ 10% ครับ จะได้มีเหลือไว้แก้ตัว) เช่นถ้าเรามีทุน $100 เราก็สั่งเทรดเพียง $10 หรือ 10% (แต่เวลาสั่ง $10 คือ 1,000 unit นะครับ ที่ Leverage 1:100) 10% ที่ใช้ เราจะเรียกว่า used margin เวลาราคาวิ่งขึ้นหรือลง มันจะมาบวก หรือ ลบ ที่ 90% ที่เหลือ หรือที่เรียกว่า available margin หากเราติดลบไปเรื่อยๆ จน available หมด ระบบจะทำการตัดขาดทุน โดยการปิด order นี้ โดยอัตโนมัติ นั่นคือ โบรกเกอร์จะไม่ยอมขาดทุนแทนเราหรอกครับ
คิดคร่าวๆ คือ เราจะทำกำไร (ขาดทุน) ได้ ประมาณ 1% ต่อ pip จากเงินทุนของเรา (คู่อื่นอาจจะไม่ถึง 1% บางคู่ก็มากกว่า เช่น EUR/GBP ตกประมาณ 2% ครับ)
นั่นหมายความว่า ด้วยทุนเพียง $100 (3,400 บาท) คุณจะสามารถทำกำไรได้ถึงจุดละ $1 (สั่งเทรด 10,000 unit) หากทำได้ 10 จุดต่อวัน ก็วันละ $10 หรือ 340 บาท (โดยประมาณ) หรือวันละ 10%
และด้วยทุนเพียง $1,000 (34,000 บาท) เราจะสามารถทำกำไรได้ถึงจุดละ $10 (สั่งเทรด 100,000 unit) หากทำได้ 10 จุดต่อวัน ก็วันละ $100 หรือ 3,400 บาท
หรืออาจจะเริ่มเพียง $1 (34 บาท) โดยจะได้จุดละประมาณ 1 เซ็นต์
ค่อยๆ สะสมไปก็ได้ครับ เพราะมีแล้วคนที่ปั้น $5 จากทุนฟรีที่ Marketiva มีให้ ไปเป็น $1,000 ใน 3 เดือน
ลองคิดดูเล่นๆู ล่ะกันครับ ถ้าเพียงคุณสามารถทำกำไรได้ 10% ของทุนต่อวัน เพิ่มไปเรื่อยๆ 6 เดือน (120 วันเทรด) จะเป็นเงินเท่าไหร่ จากทุนเพียง $5
เป็น $463,545.34 หรือ 15,765,541.60 บาท ครับ โอ้ววววว พระเจ้าช่วย (ทำได้แค่ 5% ของไอเดียนี้ก็หรูแล้วครับ)
ปกติ EUR/USD จะไม่แรงมาก ทำวันละ 20-30 จุดได้ หากเป็นบางคู่ เช่น GBP/JYP (ทุกวันนี้ผมเล่น GBP/JYP เป็นหลัก เพราะแรง เร้าใจ) ผมเคยทำได้มากสุด +250 จุด เพียงช่วงเวลาที่ผมหลับ (เที่ยงคืน) จนมาถึงเวลาที่ผมตื่น (7 โมงครึ่ง) หรือ 250% ของเงินทุนที่ผมเทรด
ที่ FxOpen ให้เราสามารถ up Leverage ได้สูงสุดถึง 1:500 นั่นแปลว่า เราใช้ทุนตัวเองเพียง $200 ในการเทรด 100,000 unit (หรือ 1 lot จะได้จุดละ $10) เองครับ
แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น Leverage ก็เป็นดาบ 2 คม ที่ทั้งทำให้ รวย-จน ได้ในพริบตา
Leverage และการที่มันวิ่งขึ้นลงทั้งวัน นี่แหล่ะครับ ที่ทำให้ Forex สนุก และเร้าใจ
อธิบายเพิ่มเติม เพื่อให้เห็นภาพมากขึ้นครับ…
Leverage ที่มากขึ้น ทำให้ใช้ margin น้อยลงครับ เช่น
หากเราสั่งเทรด 1 Lot (บน mt4 จะมีค่าเท่ากับการเทรด Quantity = 100,000 unit ที่ marketiva)
หากใช้ Leverage 1:100 จะใช้ margin = $1,000 โดย 1 pip จะมีค่า = $10
หากใช Leverage 1:200 จะใช้ margin = $500 โดย 1 pip จะมีค่า = $10
หากใช Leverage 1:500 จะใช้ margin = $200 โดย 1 pip จะมีค่า = $10
สังเกตนะครับ ผมสั่งเทรดจำนวนเท่ากัน คือ 1 Lot (หรือ Quantity = 100,000 unit ที่ marketiva ซึ่ง) และ 1 pip นั้น ไม่ว่าจะใช้ Leverage เท่าไหร่ จะมีค่าเท่ากัน แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ margin ที่ใช้ลดลง
ข้อดีของ Leverage ที่มากขึ้น คือการได้ใช้ margin ลดลง อาจะทำให้ถือลบ ได้นานอีกหน่อย (ถ้าจะถือจนลบหมดตัว)
แต่ข้อเสียคือ ถ้ามองถึงการใช้ margin และยังคงดูเรื่อง fund management ที่เราพยายามเทรดไม่เกิน 10% ของทุน การที่ Leverage มากขึ้น เช่น เพิ่มจาก 1:100 ไปเป็น 1:200 แล้วเรายังคงเทรดโดยใช้ margin 10% สิ่งที่จะแตกต่างกันคือ (ถ้าทุน $10,000 เทรด โดยใช้ margin $1,000)
1:100 ต้องสั่งเทรด 1 Lot (หรือ 100,000 Quantity) เพื่อใช้ margin $1,000 จะได้ 1 pip = $10 ซึ่งถ้า -900 จุด จะโดน cut loss
แต่
1:200 ต้องสั่งเทรด 2 Lot (หรือ 200,000 Quantity) เพื่อใช้ margin $1,000 จะได้ 1 pip = $20 ซึ่งถ้า -450 จุด จะโดน cut loss
(จริงๆ marketiva สั่งได้มากสุดแค่ 100,000 แต่ e-mail ขอ support เพิ่มเป็น 200,000 ได้)
ซึ่ง ถ้าจะใช้ให้ถูก ถึงเราจะเลือก 1:200 เราก็ควรจะเทรดที่ 1 Lot (หรือ 100,000 Quantity) เหมือนเดิม เพื่อที่จะใช้ margin ลดลงเหลือ $500 ซึ่ง 1 pip จะยังคง = $10 และจะโดน cut loss เมื่อ -950 จุด (ยืดมาได้ 50 จุด จากที่ใช้ 1:100 ที่ลบได้แค่ 900 จุด)